Course: การใช้ Moodle (สำหรับผู้สอน)
- General
- ตอนที่ 1 การใช้งานเบื้องต้น
- การเข้าสู่ระบบ
- การจัดการข้อมูลส่วนตัว
- หน้าจอการทำงานสำหรับผู้สอนรายวิชา
- การเปิด-ปิด โหมดการแก้ไข
- การจัดการรายวิชา
- การเพิ่มรูปภาพบนแหล่งข้อมูลแนะนำตัวผู้สอนหรือแหล่งข้อมูลรายวิชา
- การกำหนดหัวข้อการสอนแต่ล่ะครั้ง
- การย้ายหัวข้อการสอน
- การซ่อนหัวข้อการสอน
- การเข้าสู่ระบบ
- คู่มือเอกสารการใช้งานเบื้องต้น (หน้า 6 - 26)
- ตอนที่ 2 การเพิ่มเนื้อหาแบบหน้าเว็บเพจ (Page)
- การใส่รายละเอียดเนื้อหาวิชา ไม่ว่าจะเป็นใบเนื้อหาหรือข้อมูลประกอบต่าง ๆ สามารถทำได้โดยการใส่เนื้อหาการสอนโดยใช้ แหล่งข้อมูลหน้าเว็บเพจ
- คู่มือ การเพิ่มแหล่งข้อมูลแบบหน้าเว็บเพจ (Page) (หน้า 28 - 30)
- ตอนที่ 2 การเพิ่มเนื้อหาแบบลาเบล
- ลาเบล (Label) ใช้สำหรับเพิ่มกรอบคำอธิบายอย่างย่อ คล้ายกับการติดลาเบลบนเอกสารหรือสินค้าต่าง ๆ เพื่ออธิบายข้อมูลแบบย่อ ๆ หรือใช้ในการฝังไฟล์เสียง (Audio) หรือไฟล์วิดีโอ (Video) ไว้หน้าแรกของบทเรียน
- คู่มือการเพิ่มแหล่งข้อมูลแบบลาเบล (Label) (หน้า 31 - 37)
- ตอนที่ 2 การเพิ่มไฟล์ประกอบการบรรยาย (Slide and Document)
- แหล่งข้อมูล (File)ใช้เพิ่มแหล่งข้อมูลประกอบการเรียนการสอน เช่น เอกสารประกอบการสอนในรูปแบบไฟล์เอกสารต่างๆ สไลด์ประกอบการบรรยาย หรือไฟล์ที่มีการบีบอัด
- คู่มือการเพิ่มไฟล์ประกอบการบรรยาย (Slide and Document) (หน้า 37 - 38)
- ตอนที่ 2 การเพิ่มเนื้อหาแบบกรณีศึกษา (Folder)
- กรณีมีแหล่งข้อมูลจำนวนมาก มีไฟล์หลากหลายชนิด สามารถยุบรวมข้อมูลเก็บไว้ในห้องเก็บที่เดียวกันได้ โดยแหล่งข้อมูลแบบโฟลเดอร์ เหมาะสำหรับสร้างห้องเก็บไฟล์แบบพิเศษ ภายในสามารถเก็บได้หลาย ๆ ไฟล์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนในรายวิชาสามารถเข้ามาดาวน์โหลดเอกสารต่าง ๆ ภายในได้ สามารถนำหลักการนี้มาจากประยุกต์ใช้ทำเป็นกรณีศึกษา (Case Studies) ได้เช่นกัน
- คู่มือการเพิ่มแหล่งข้อมูลแบบกรณีศึกษา (Folder) (หน้า 39 - 40)
- ตอนที่ 2 การเพิ่มเนื้อหาที่เป็นเว็บไซต์ (URL)
- ในกรณี ผู้สอนต้องการแนะนำแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมที่ไม่ได้จัดไว้ให้ในระบบ สามารถทำได้โดยการเพิ่มแหล่งข้อมูลเป็นเว็บไซต์ผ่านทาง URL (Uniform Resource Locator) ให้ผู้ใช้เข้ามาเรียนรู้ศึกษาเพิ่มเติมได้
- คู่มือการเพิ่มแหล่งข้อมูลที่เป็นเว็บไซต์ (URL) (หน้า 41 - 42)
- ตอนที่ 2 การเพิ่มเนื้อหาในรูปแบบหนังสือ (Book)
- กรณีที่ต้องการสร้างแหล่งข้อมูลในรูปแบบหนังสือเป็นบท ๆ หรือเป็นเรื่องๆ เป็นลำดับขั้นตอนคล้ายรูปแบบหนังสือ สามารถเพิ่มแหล่งข้อมูลโดยใช้แหล่งข้อมูลแบบหนังสือ (Book)
- คู่มือการเพิ่มแหล่งข้อมูลในรูปแบบหนังสือ (Book) (หน้า 42 - 45)
- ตอนที่ 3 การจัดการกิจกรรมกระดานข่าวรายวิชา (Forum)
โมดูลกระดานข่าวรายวิชา (Forum) มีไว้สำหรับให้ผู้เรียนสอบถามปัญหาต่างๆ จากผู้สอน หรือการแลกเปลี่ยนปัญหากับผู้เรียนกันเอง RCIM Online ได้จัดสร้างกระดานเสวนาไว้ให้ในรายวิชาต้นแบบแล้ว ผู้สอนสามารถปรับเปลี่ยนรายละเอียดได้ตามความเหมาะสม มีเนื้อหาดังนี้
- การปรับแก้กิจกรรมกระดานข่าวรายวิชา (Forum)
- การเพิ่มกิจกรรมกระดานข่าวรายวิชา (Forum)
- การตอบกระทู้ผู้เรียน
- การค้นหาข้อมูลในกระดานเสวนา (Search)
- การปรับแก้กิจกรรมกระดานข่าวรายวิชา (Forum)
- คู่มือการจัดการกิจกรรมกระดานข่าวรายวิชา (Forum) (หน้า 45 - 53)
- ตอนที่ 3 การเพิ่มกิจกรรมห้องสนทนารายวิชา (Chat)
โมดูลกิจกรรมห้องสนทนารายวิชา มีไว้สำหรับให้ผู้สอนผู้เรียนสนทนากันแบบ Real-time ทำหน้าที่คล้ายๆ facebook messenger หรือ Line เพียงแต่ใช้ในการสนทนารายวิชาเท่านั้น มีเนื้อหาดังนี้
- การสนทนาออนไลน์
- การตรวจสอบการสนทนาก่อนหน้า
- การสนทนาออนไลน์
- คู่มือการเพิ่มห้องสนทนารายวิชา (Chat) (หน้า 53 - 56)
- ตอนที่ 3 การเพิ่มกิจกรรมงานมอบหมาย (Assignment)
ผู้สอนสามารถทำการมอบหมายงานหรือการบ้านให้ผู้เรียนพร้อมให้คะแนนผ่านระบบออนไลน์ได้ โดยการส่งงาน (Assignment) ทำได้ 4 วิธี คือ อัปโหลดไฟล์ขั้นสูง ส่งคำตอบออนไลน์ผ่านหน้าเว็บ ส่งโดยให้อัปโหลดไฟล์ และส่งงานนอกเว็บ มีเนื้อหาดังนี้
- การทดสอบการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
- การตรวจสอบชิ้นงานที่ส่ง
- การทดสอบการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
- คู่มือการเพิ่มกิจกรรมงานมอบหมาย (Assignment) (หน้า 57 - 72)
- ตอนที่ 3 การเพิ่มกิจกรรมโพลล์ (Choice)
- ผู้สอนสามารถสำรวจความคิดเห็นของผู้เรียนได้โดยการเพิ่มกิจกรรมแบบสอบถามหรือโพลล์ (Choice)
- คู่มือการเพิ่มกิจกรรมโพลล์ (Choice) (หน้า 73 - 79)
- ตอนที่ 3 การเพิ่มกิจกรรมแผนที่ความคิด (Mind Map)
- ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้สมองให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยใช้ Mind Map แผนผังความคิดหรือแผนภาพความคิด ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ โทนี บูซาน (Tony Buzan) นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ คิดค้นขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้เขียนแผนที่ความคิดสร้างจินตนาการต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งออกมาเป็นรูปธรรม
- คู่มือการเพิ่มกิจกรรมแผนที่ความคิด (Mind Map) (หน้า 80 - 84)
- ตอนที่ 3 การเพิ่มกิจกรรมแบบสำรวจ (Feedback)
- การสร้างแบบสำรวจรูปแบบ Multiple choice
- การสร้างแบบสำรวจรูปแบบ Multiple choice (rated)
- การสร้างแบบสำรวจรูปแบบ Label
- การสร้างแบบสำรวจรูปแบบ Information
- การสร้างแบบสำรวจรูปแบบ Numeric answer
- การสร้างแบบสำรวจรูปแบบ กล่องข้อความ
- การสร้างแบบสำรวจรูปแบบ ข้อความ
- การกำหนดให้แบบสำรวจขึ้นหน้าใหม่
- การดูคำตอบจากแบบสำรวจ (Feedback)
- การจัดการรูปแบบแบบสำรวจ (Feedback)
- การสร้างแบบสำรวจรูปแบบ Multiple choice
- คู่มือการเพิ่มกิจกรรมแบบสำรวจ (Feedback) (หน้า 85 - 91)
- ตอนที่ 3 การเพิ่มกิจกรรมแบบสอบถาม (Questionnaire)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด ใช่ หรือ ไม่ใช่ (Yes/No)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด (Text Box)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด (Essay Box)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด (Radio Buttons)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด (Check Box)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด (Dropdown Box)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด Rate (Scale 1..5)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด (Date)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด (Numeric)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด (Label)
- การสร้างแบบสอบถามชนิด ใช่ หรือ ไม่ใช่ (Yes/No)
- คู่มือ การเพิ่มกิจกรรมแบบสอบถาม (Questionnaire) (หน้า 92 - 109)
- ตอนที่ 3 การเพิ่มกิจกรรมแบบทดสอบ (Quiz)
- ส่วนที่ 1
- ขั้นตอนการออกแบบโครงสร้างข้อสอบ
- ประเภทของคำถามใน Moodle
- การสร้างคำถามแบบปรนัย (Multiple Choice)
- การสร้างคำถามแบบอัตนัย (Short Answer)
- การสร้างคำถามแบบจับคู่ (Matching)
- การสร้างคำถามแบบถูก/ผิด (True/False)
- การสร้างคำถามแบบคำอธิบาย (Description)
- การสร้างคำถามแบบเรียงความ (Essay)
- การสร้างคำถามแบบจับคู่จากอัตนัย (Random Short-Answer Matching)
- การสร้างคำถามแบบเติมคำตอบด้วยตัวเลขหรือช่วง (Numerical)
- การสร้างคำถามแบบคำนวน (Calculated)
- การดึงคำถามจากคลังคำถาม
- การทดลองทำข้อสอบ
- การกำหนดรหัสผ่านก่อนการทำข้อสอบ
- การแสดงหน้าต่างทำข้อสอบแบบป๊อบอัป รูปแบบ JavaScript
- ขั้นตอนการออกแบบโครงสร้างข้อสอบ
- มือการเพิ่มกิจกรรมแบบทดสอบ (Quize) ทั้งสองส่วน (หน้า 110 - 153)
- ตอนที่ 4 การจัดการคะแนน
หลังจากที่ผู้เรียนได้ทำแบบทดสอบแล้ว ผู้สอนจะเป็นผู้ดูผลคะแนนของผู้เรียน เพื่อนำข้อมูลผลคะแนนของผู้เรียนในการเรียนรายวิชาไปประเมินผลการเรียน มีเนื้อหาดังนี้
- การตั้งค่าและการกำหนดช่วงคะแนน
- การตรวจสอบผลการเรียนรายบุคคล
- การตรวจสอบและให้คะแนนงานมอบหมาย (Assignment)
- การตรวจสอบคะแนนการทำแบบทดสอบ
- การตั้งค่าและการกำหนดช่วงคะแนน
- คู่มือการจัดการคะแนน (หน้า 153 - 163)
- ตอนที่ 4 การจัดการสมาชิก
การจัดการสมาชิก หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับผู้เรียนที่เข้าเรียนในแต่ละวิชา การแบ่งกลุ่ม และการนำรายชื่อผู้เรียนเข้าสู่รายวิชาที่สอน มีเนื้อหาดังนี้
- Enroll Users
- กลุ่ม (Group)
- Grouping
- Overview
- Enroll Users
- คู่มือการจัดการสมาชิก (หน้า 163 - 177)
- ตอนที่ 4 การจัดการสำรองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล
เป็นส่วนที่ผู้สอนจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้สอนเองเพื่อป้องการการสูญหายของข้อมูลรายวิชา หรือเพื่อการเก็บไว้ไปใช้งานในรูปแบบอื่นก็อาจจะเป็นได้ แต่ทั้งนี้ Admin ของระบบก็จะทำการสำรองข้อมูลเป็นระยะ ๆ อยู่แล้วเพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูลทั้งระบบบ มีเนื้อหาดังนี้
- การสำรองข้อมูล (Backup)
- การกู้คืนข้อมูล (Restore)
- การสำรองข้อมูล (Backup)
- คู่มือการสำรองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล (หน้า 178 - 185)
- ตอนที่ 4 การสรุปรายงานการสอน
- การดูรายงานสรุปข้อมูลของผู้เรียน
- การตรวจสอบรายงานแบบ Real-time
- การตรวจกิจกรรมแบบแยกกิจกรรม
- การตรวจกิจกรรมแบบพิเศษ
- การดูรายงานสรุปข้อมูลของผู้เรียน
- คู่มือการสรุปรายงานการสอน (หน้า 185 - 193)